วิสัยทัศน์เทศบาลตำบลหนองบัว
“พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน
ภายใต้นโยบายการบริหารที่ว่า
เทศบาลตำบลหนองบัวยุคใหม่ พัฒนาโปร่งใส ใส่ใจทุกชุมชน”
พันธกิจ การพัฒนาของเทศบาลตำบลหนองบัว
-
-
- โครงสร้างพื้นฐานได้มาตรฐาน และระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ขั้นพื้นฐานทั่วถึง
- เพิ่มประสิทธิภาพด้านการศึกษาของเด็กเยาวชนและนันทนาการของประชาชน
- ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
- ยกระดับรายได้ของประชาชน
- เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสิ่งแวดล้อม
- เพิ่มประสิทธิภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการ
-
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลตำบลหนองบัว (พ.ศ.2566-2570)
-
- ในการพัฒนาเทศบาลตำบลหนองบัว ได้ใช้ข้อมูลจากสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ ที่มาจากสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชน ประกอบด้วย นำนโยบายของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนพัฒนาอำเภอมาบูรณาการเป็นแนวทางในการพัฒนาเทศบาล เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ซึ่งเทศบาลตำบลหนองบัวได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาไว้ 6 ด้าน ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์
- ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการศึกษา วัฒนธรรมและนันทนาการ
- ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านสังคม คุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ การค้า และการลงทุน
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาด้านบริหารจัดการแบบบูรณาการ
- ในการพัฒนาเทศบาลตำบลหนองบัว ได้ใช้ข้อมูลจากสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ ที่มาจากสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชน ประกอบด้วย นำนโยบายของรัฐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนพัฒนาอำเภอมาบูรณาการเป็นแนวทางในการพัฒนาเทศบาล เพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ซึ่งเทศบาลตำบลหนองบัวได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาไว้ 6 ด้าน ดังนี้
กลยุทธ์
-
-
- ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 1.1 การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ได้มาตรฐาน เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
- 1.2 การพัฒนาก่อสร้างและปรับปรุงบำรุงระบบคมนาคมขนส่ง ถนน ทางเท้า สะพาน และระบบระบายน้ำ
- 1.3 การวางผังเมืองและควบคุมการก่อสร้างอาคารให้ปลอดภัย
- 1.4 การพัฒนาระบบจราจร
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านการศึกษา วัฒนธรรมและนันทนาการ
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 2.1 การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาในทุกระดับ
- 2.2 การส่งเสริมศาสนาและอนุรักษ์ภูมิปัญญาวัฒนธรรมท้องถิ่น
- 2.3 การส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านสังคม คุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 3.1 การพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน
- 3.2 การส่งเสริมและพัฒนาเด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ยากไร้
- 3.3 การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
- 3.4 การบริหารจัดการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- 3.5 การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและจัดระเบียบสังคม
- 3.6 การจัดสวัสดิภาพสัตว์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ การค้า และการลงทุน
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 4.1 การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพสร้างรายได้ให้แก่ประชาชน
- 4.2 การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อให้แข่งขันได้
- 4.3 การส่งเสริมอุตสาหกรรมพัฒนาแรงงานเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
- 4.4 การขยายผลองค์ความรู้การทำเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 5.1 การส่งเสริมการท่องเที่ยว
- 5.2 การพัฒนาสร้างจิตสำนึกตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- 5.3 การพัฒนาแหล่งน้ำ และนำไปใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด
- 5.4 การแก้ไขปัญหามลภาวะทางสิ่งแวดล้อม
- 5.5 การบริหารจัดการขยะมูลฝอย
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาด้านบริหารจัดการแบบบูรณาการ
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- 6.1 การปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร
- 6.2 การปรับปรุงและพัฒนารายได้ของ อปท.
- 6.3 การพัฒนาปรับปรุงอาคารสถานที่และพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้ในการปฏิบัติงาน
- 6.4 การพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
- 6.5 การให้บริการประชาชนทั้งด้านวิชาการ และบริการอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
- มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์
- ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์
-